และความสัมพันธ์ระหว่างบุเรงนองกับประวัติศาสตร์ไทย
คือการยกทัพมาตีไทย 2 ครั้ง ในพ.ศ.2106 และพ.ศ.2112 ส่วน นันทบุเรง หรือมังไชยสิงหราช โอรสของพระเจ้าบุเรงนอง เป็นบุคคลจริงในประวัติศาสตร์ของพม่า รวมถึง มังสามเกียด โอรสของพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรง ก็เป็นคำในภาษามอญ มอญใช้เรียก ซึ่งพม่าเรียกตามมอญ
ดร.สุเนตร ให้ความเห็นว่า
ฉากสำคัญในภาพยนตร์เรื่องนี้ คือฉากในราชสำนักหงสาวดี เพราะเป็นฉากที่ต้องสร้างให้พระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็ง น่ายำเกรง สร้างฉากให้ราชอาสน์ของบุเรงนองเข้มแข็ง
ฉะนั้น เพื่อเป็นหลักประกันเรื่องนี้
ฝ่ายหญิงที่ถูกส่งตัวมายังกรุงหงสาวดีจะต้องเป็นมเหสีของบุเรงนองทั้งสิ้น ซึ่งพระสุพรรณกัลยาก็เป็น 1 ในจำนวนนี้
"บุเรงนอง ทำเช่นนี้ก็เพื่อให้เป็นระบบควบคุมความจงรักภักดี
และความสัมพันธ์ในระบบการเมืองยุคนั้น แต่จุดอ่อนประการสำคัญของ "หงสาวดี" ก็คือพระมหากษัตริย์ เมื่อพระมหากษัตริย์สวรรคต บ้านเมืองก็ล่มสลาย" ดร.สุเนตร กล่าวโดยสรุป
https://www.facebook.com/teeneedotcom